วันพฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2564

วันพุธที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2564


 ไคโตซาน (chitosan) คืออะไร

ไคโตซานเป็นสารพอลิเมอร์ธรรมชาติที่สกัดได้จากไคตินที่พบในเปลือกกุ้ง กระดองปู และแกนปลาหมึก เป็นต้น โดยมี หมู่อะมิโนที่แสดงสมบัติในการละลายได้ในกรดอินทรีย์เจือจาง สามารถจับกับไอออนของโลหะได้ดี และสารมีฤทธิ์ทาง ชีวภาพ ปัจจุบันมีการนำไคโตซานไปประยุกต์ใช้มากมาย เนื่องจากสมบัติพิเศษหลายประการของไคโตซาน ได้แก่ ความไม่เป็นพิษ มีความเข้ากันได้ทางชีวภาพ (biocompatibility) เสื่อมทางชีวภาพ (biodegradable) และไม่ก่อให้เกิด อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ไคโตซาน (chitosan) เป็นสารธรรมชาติที่รู้จักกันมานานกว่า 100 ปีแล้ว แต่ไม่ได้มีการศึกษาเพื่อนำมาใช้ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2518 ได้มีการรวมตัวกันของนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก เพื่อศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของสารตัวนี้ ซึ่งคุณสมบัติพื้นฐานของไคโตซาน ที่นักวิทยาศาสตร์ต่างศึกษาออกมาได้ผลตรงกัน คือ ไคโตซานเป็นสารที่มีประจุบวก สามารถดักจับไขมันต่างๆที่เป็นประจุลบได้ โดยมีการทดลองใช้สารไคโตซานครั้งแรกในการบำบัดน้ำเสียแบบชีวภาพที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งหลังจากนั้นไคโตซานก็ได้เข้าไปมีบทบาทในวงการอุตสาหกรรมหลายสาขา และศาสตราจารย์ C.Rouget เป็นผู้ค้นพบไคโตซานครั้งแรกเมื่อ ค. ศ. 1859 โดยการต้มไคตินกับสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น ซึ่งได้สารที่มีสมบัติแตกต่างจากไคติน คือสามารถละลายได้ในสารละลายอินทรีย์เจือจาง และต่อมาในปี 1894 Hoppe-Seiler ได้ตั้งชื่อเป็น ไคโตซาน

ไคโตซานมีขนาดโมเลกุลที่ใหญ่มากทำให้ไม่ถูกดูดซึม แต่จะถูกขับถ่ายออกมาก นอกจากการจับไขมันแล้ว ไคโตซานยังมีคุณสมบัติที่ช่วยจับพวกโลหะหนัก ซึ่งมาจากฝุ่นไอเสียรถยนต์ ยาฆ่าแมลง และ สีผสมอาหาร ได้เป็นอย่างดี วงการเภสัชกรรมจึงได้ใช้คุณสมบัติในการดักจับไขมันในทางเดินอาหารของไคโตซาน มาใช้ในการรับประทานเพื่อลดน้ำหนัก คอเลสเตอรอล




 

ในวงการเกษตร

เนื่องจากไคโตซาน มีสรรพคุณในการเคลือบพื้นผิวได้ จึงถูกมาใช้ในการเคลือบเมล็ดพันธุ์เพื่อป้องกันไม่ให้เมล็ดพันธ์ติดโรคหรือเน่าเสีย และสรรพคุณบางอย่างในไคโตซาน ยังสามารถนำไปผสมกับยาเพื่อช่วยในการเร่งการเจริญเติบโตของพืชให้รากงอกได้เร็ว นอกจากนี้ยังไปผสมกับแร่ธาตุเพื่อช่วยเสริมธาตุอาหารในดินด้วย

ไคโตซาน ในวงการสิ่งแวดล้อม

คุณสมบัติหลักที่โฆษณาอาหารเสริมยี่ห้อหนึ่งพยายามบอกกับก็คือไคโตซาน ช่วยดักจับไขมัน ใช่ไคโตซาน มีคุณสมบัตินี้ แต่ประโยชน์ของการดักจับไขมันของไคโตซาน ที่ถูกต้องคือการนำมาใช้ดักจับไขมัน สี และโลหะหนักที่อยู่ในน้ำเสีย หรือดูดซึมสารพิษได้ในกระบวนการบำบัดน้ำเสีย ดังนั้นลองคิดดูว่าถ้าเราเอามากิน มันจะส่งผลร้ายแรงกับเราแค่ไหน

สวนพริกในประเทศ จีน ใช้กุ้งหลวง ไคโตซาน ได้ผลผลิตสูงมาก

อยากให้ดูภาพแตกต่างระหว่างก่อนใช้-และหลังใช้ จะแตกต่างกันมากแค่ไหน

สั่งกุ้งหลวง ไคโตซานของแท้ต้องที่เราเท่านั้น 

โทร.09-22695503 (ID Line : nong3661r)










ผลผลิตจากประเทศ เนปาล













กุ้งหลวงไคโตซาน เป็นสารกระตุ้นให้พืชกินปุ๋ยโดยการเลียนแบบธรรมชาติ และเสริมสร้างจุลินทรีย์กลุ่มดี ทำให้ดินร่วนซุย ปรับสภาพน้ำเสีย ทำให้ผลผลิตเพิ่ม ขึ้น 20% ขึ้นไป เกษตรกรลดต้นทุนได้ถึง 50% 

ประโยชน์ของกุ้ง หลวงไคโตซานกับพืช

1.ช่วยฟื้นฟูปรับสภาพดิน

  - สร้างความแข็งแรงจุลินทรีย์กลุ่มดี

2.ช่วยสร้างปุ๋ยให้แก่พืช

  - ปลดปล่อยธาตุไนโตรเจนแก่พืช

  - ช่วยตรึงไนโตรเจนให้กับพืช

  - สามารถดูดซับธาตุอาหารพืชในดินหลายชนิด โปแตสเซียม แมกนีเซียม ฟอสเฟต แคลเซียมเหล็ก

3.เคลือบเมล็ดพันธุ์

  - ป้องกันเชื้อรา

  - ป้องกันและกำจัดโรคที่จะเข้ามาทำลายเมล็ดและต้นอ่อน

  - เพิ่มเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ด

  - เร่งรากสำหรับกิ่งชำหรือกิ่งตอน

4.ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช

  - สร้างระบบรากให้แข็งแรง

  - กระบวนการทางสรีระของพืชเจริญเติบโตเร็วขึ้น

  - ลดระยะเวลาการเพาะปลูกลง

  - ทำให้ช่วงระยะเวลา และจำนวนครั้งที่เก็บผลผลิตเพิ่มขึ้น

  - ลำต้นแข็งแรง ต้านลม อาการที่เปลี่ยน

5.ป้องกันและกำจัดแมลง

  - กลิ่นเฉพาะของไคโตซาน แมลงเมื่อได้กลิ่นจะบินหนี

  - ทำให้พืชผลิตน้ำย่อย ไคติเนส

6.ป้องกัน และกำจัดโรคพืช

  - ช่วยยับยั้งเชื้อรา แบคทีเรีย และไวรัส

  - เชื้อราอ่อนแอลงเนื่องจากสร้าง RNA ได้น้อยลง

7.ช่วยสร้างภูมิต้านทานโรค

  - สร้างภูมิต้านทานโรคด้วยตนเอง ด้วยการกระตุ้นให้พืชผลิตสารกลุ่มฟินอลิก เช่น ลิกนิน แทนนิน

  - ช่วยเสริมให้พืชสร้างสารต่อต้านโรคพืช เช่น ไฟโตอะเล็กซีน